ท่องเที่ยว | เที่ยวธรรมะ | เที่ยววัฒนธรรม | เที่ยวสกลนคร

ศาลเจ้าพ่อมเหสักข์ ศาลหลักเมืองสกลนคร

ศาลเจ้าพ่อมเหสักข์ (ศาลหลักเมือง) เดิมมีชื่อว่า ศาลเจ้าปูโต้งมเห ศักดิ์หลักเมือง เมื่อปี พ.ศ. 2543 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ศาลเจ้าพ่อมเหศ์สักข์ (โต่งตามความหมายในพจนานุกรม น.ที่สุดของสิ่งที่เป็นแนว เช่น ปลายโต่ง ท้ายโต่ง สุดโต่ง, ก.เป็นภาษาพื้นบ้านอีสานลักษณะเป็น กิริยาคือ การรองรับสิ่งของที่โยนมาไหลมา ตกลงมาเช่น เครื่องดักปลา หรือโต่งตักปลา โต่งน้้ำจากชายคาปู่เจ้าโต่งเป็นศาลเจ้าที่ตั้งเรียงรายใน คูเมืองในศูหมากเสื้อและโนนหลักเมืองคือศาลเจ้าพ่อมเหศักดิ์ปัจจุบันขณะนี้

ศาลเจ้าปูโต่งอุปฮาด ราชวงศ์เมืองสารพันวันทองของสองฝั่งแม่น้ําโขง โดยพระอุปฮาดโต่ง ถูกส่งมาเพื่อปกป้องคุ้มครองชาวเมืองหนองหารหลวงและมารักษาพระ ธาตุเชิงชุมเมืองหนองหารหลวงสมัยนั้น กําหนดการจัดเลี้ยงบวงสรวง ศาลเจ้าปูโต่งมเหศักดิ์หลักเมืองคือ เดือน 6 ขึ้น 3 ค่ําของทุกปี  ต้องมีการจัดเครื่องบวงสรวงเครื่องสังเวย มีหัววัว ขาวัว พร้อมเนื้อ เครื่องในและข้าวตอกดอกไม้ของส้มของหวาน อาหารสุกและเหล้าขาว พร้อมเครื่องดนตรี มีปี พิณ แคน นิ่ง ประกอบพิธีการจัดเลี้ยงบวงสรวง เครื่องทรงต่างๆ แล้วแต่เจ้าจะทรงผ้าส์ต่างๆ

ศาลเจ้าปูโต่งมเหศักดิ์ หลักเมืองไต่สับทอดกันมายาวนานหลายชั่วอายุคนมนเมืองสกลนคร
เจ้าโต่งอุปฮาดราชวงศ์จากเมืองสารพันวันทองของสองฝั่งแม่น้ําโขงถูก

ส่งมาเพื่อปกป้ององค์พระธาตุเชิงชุมและชาวเมืองหนองหารหลวงให้ อยู่เย็นเป็นสุขทั้งทางบกและทางน้ํา ในเขตลุ่มนาหนองหารและแม่น้ำที่ไหลไปสู่แม่น้้ำโขงตอนล่างให้ได้รับความปลอดภัยทุกคน เมื่อท่านสิ้นพระชนม์แล้ว ท่านมาสิงสถิตอยู่ที่ศาลเจ้าปุ่มเหศักดิ์หลักเมือง จนตราบเท่าทุกวันนี้

Similar Posts